วันเสาร์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2553

5.การใช้สื่อประสม สำหรับออกแบบเว็บไซต์
5.1 การใช้ภาพเคลื่อนไหว
ใช้เพื่อสร้างสีสันในส่วนของโลโก้ (LOGO Animated)
Interactive คลิกแร้วใหญ่ขึ้น อยู่ที่ปุ่มต่างๆ แถบเมนูนำทาง
วิเคราะห์ว่าเว็บมีภาพเคลื่อนไหวมั้ย มีลักษณะอย่างไร

5.2 การใช้วีดีโอคลิป

อยู่ที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตด้วย คิดว่ากลุ่มคนที่ดูเว็ปเราการโหลดเร็วแค่ไหน


5.3 การใช้เสียง
เว็บที่เกี่ยวกับข่าว หรือไม่เกี่ยวกับบันเทิงก็ไม่ควรมี
แบ่งตามลักษณะหมวดหมู่ด้วย

นึกถึงกลุ่มคนที่เข้ามาดูเว็ป

*ในเชิงออกแบบการใส่เสียงไว้หน้าแรกไม่ควร มันเหมือนบังคับให้คนดูฟัง

4.การใช้ตัวอักษร และภาพกราฟฟิก
4.1 สีของตัวอักษร
เข้ม พื้น อ่อน/กลาง
กลาง พื้น เข้ม/อ่อน
อ่อน พื้น เข้ม/กลาง
*ให้มันตัดกับพื้นหลัง เช่นถ้าพื้นหลังอ่อนใช้ตัวอักษรเข้ม

4.2 ลักษณะตัวอักษร
html (css) การกำหนดสีด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โดยการเขียนโปรแกรม
ฟอนต์มาตรฐานที่ใช้กับหน้าเว็บ Ms san serif , Arial , Geneva , Helvetija 14-20 pt
ซึ่งอ่านง่าย
ถ้าเป็นหัวข้ออาจกำหนดความเด่นชัด เช่น หนา เอียง ขีดเส้นใต้ ตัวกระพิบ (ไม่ควรใช้เยอะเพราะมันจะดูวุ่นวาย)

4.3 จำนวนของภาพกราฟฟิก
ภาพที่ใช้ประกอบในเว็บไซต์
ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของเนื้อหา
อาจเป็นการใช้กับภาพหนึ่งภาพ เช่น หนึ่งภาพหนึ่งเรื่อง

4.4 ต่ำแหน่งในการวางภาพ
ควรจะอยู่ด้านซ้าย ขวา หรือกลาง ขึ้นอยู่กับเนื้อหาของเรา
มองจากซ้ายไปขวา
ไม่ตายตัวแล้วแต่ลักษณะการออกแบบ


4.5 ขนาดของภาพ
ควรจะคำนึงถึงการโหลดภาพของภาพ(การสำรวจคนจะอดทนรอการโหลดได้8วินาที)
ขนาดภาพควรไม่เกิน150k
ไฟล์ที่ใช้ JPEG , GIF
3. หลักการใช้สี

หลักการใช้สีสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
3.1 จำนวนของสีหลัก
สีหลัก ให้เลือกตาม Concept + Mood Tone หรือ Theme เพื่อแสดงให้ถึงภาพลักษณ์
สีหลักควรจะมีอยู่4สี เป็นชุดเดียวกัน ส่งเสริมภาพลักษณ์ให้ดูเข้ากัน

3.2 การใช้สีพื้นหลัง
ภาพ ลวดลาย สี
ควรใช้แต่พอดี ควรใช้ตามความจำเปน ไม่รบกวนสายตา ควรจะเป็นสีโทนเย็น แต่ถ้าจะใช้สีโทรร้อน ตัวอักษรควรใช้สีอ่อน

3.3 โทนสีโดยรวม
โทนร้อน โทนเย็น แบ่งเป็นเปอร์เซ็น
3.4 สีกับหมวดหมู่
หมวดข่าว บันเทิง
อยู่ลักษณะเนื้อหาของหมวดหมู่
แบ่งตามลักษณะของหมวดหมู่นั้นๆ เช่น เว็ปทีวี ในเว็ปแบ่งเป็น ข่าว ละคร บริการ แต่ละหมวดหมู่ก็จะมีสีประจำตัวอยู่

วันพุธที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553

ตัวหนังสือพ่อขุนราม








ตัวหนังสือสมัยพ่อขุนรามคำแหง
ที่ค้นพบบนแผ่นศิราจารึกหลักที่ 1 ถูกค้นพบในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยเจ้าฟ้ามงกุฎฯ(ต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)เมื่อพ.ศ.2376